ขับเคลื่อนโดย Blogger.

Ch4


Ch 4 : Information  systems  for KM


Agenda


- Steve Jobs’ speech at Stanford university 2005

- Introduction

- Source and Impotance

- Enabling Tools

- Problem

- Reference


Introduction

- อดีต สารสนเทศและเครือข่าย คือสิ่งสำคัญในการดำเนินธุรกิจและสร้างอำนาจ , สร้างความร่ำรวย จากธุรกิจที่สามารถควบคุมข้อมูลและการสื่อสาร

- ปัจจุบัน สังคมกำลังก้าวสู่ยุคแห้งความรู้ , ความรู้มีบทบาทและเป็นเครื่องมือในการได้เปรียบการแข่งขันร่วมทั้งอำนาจและทรัพย์สิน


Source and Importance

ระบบซอร์ฟแวร์การจัดการความรู้แบ่งเป็น 2 กลุ่มใหญ่

1. Explioit Knowledge – เอกสาร, ตำรา

2. Tacit Knowledge – ความรู้โดยนัย สติปัญญา ความคิด

*ความรู้ทั้ง 2 ชนิด สามารถประมวลผลจัดเก็บ ทำดัชนีสำหรับค้นรองรับการนำไปใช้งานเมื่อต้องการ

บทบาทหลักของเทคโนโลยีสารสนเทศในการบริหารองค์ความรู้ในองค์กร คือ ( Enabling Tools ) เครื่องมือสนับสนุนทำหน้าที่ รวบรวมข้อมูลจากระบบอื่นๆ ที่มีใช้อยู่ในองค์กร

เช่น
E-mail

ERP

CRM

Web Board

Data Warehouse


ประโยชน์

1. ง่ายต่อการจัดเก็บและสืบค้น

2. ตัวกลางที่ทำให้เกิดการเชื่อมโยงและทำงานร่วมกัน

( Communicaton & Collaboration ) ของผู้ที่ต้องการความรู้กับองค์ความรู้

3. รวบรวม จัดเก็บและนำความรู้ไปใช้งาน

*กระบวนการทำงานใหม่ดีขึ้นจะขึ้นอยู่กับการจัดการความรู้โดยมีเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นส่วนสนับสนุน


Enabling Tools

หลักปฎิบัติที่สำคัญ

1. ผู้ป้อนข้อมูลควรเลือกข้อมูลที่สั้น กระชับเข้าใจง่าย

1.1 รูปแบบข้อความ , คำพูด , เอกสาร เช่นคู่มือปฏิบัติงาน , กระบวนการทำงาน

1.2 ภาพ , เสียง, วีดีโอ

2. พนักงานต้องได้รับการอบรมให้มีความชำนาญในการค้นหาความรู้ในระบบซอฟแวร์

3. ให้ระบบซอฟแวร์ทำหน้าที่รวบรวมข้อมูลจากระบบอื่นๆ ที่มีใช้อยู่ในองค์กร เช่น e-mail , ERP, CRM ,Web Board , Data Warehouse จัดทำดัชนีง่ายต่อการจัดเก็บและสืบค้น

4. ระบบซอฟแวร์ เป็นตัวกลางในการเชื่อมโยงและทำงานร่วมกันของผู้ที่ต้องการความรู้

5. หลังจากมีการรวบรวมความรู้อย่างเป็นระบบผ่านซอฟแวร์

5.1 รับฟังความคิดเห็นพนักงานเมื่อปรับปรุง ประเมินความพึงพอใจของลูกค้า

5.2 วัดผลว่าการจัดการความรู้ในระบบซอฟแวร์ นั้นสามารถเพิ่มคุณค่า, สร้างความตื่นตัว, ถ่ายทอดความรู้สม่ำเสมอ, สนิทสนมระหว่างองค์กรกับลูกค้าแลกเปลี่ยนความต้องการ

*การนำระบบการจัดการความรู้มาใช้ในองค์การนั้นไม่ใช้การเอาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศอีกระบบหนึ่งเข้ามาในองค์กรแต่เป็นการวางแผนระบบจัดการองค์ความรู้ ปรับปรุง เพื่อให้การติดต่อสื่อสารเป็นไปอย่างราบรื่นตามระบบงาน
 

Problem


1. ความรู้เป็นนามธรรม การจัดการความรู้ไปทำกับกระบวนการจัดการความรู้ เช่น จัดเก็บ, ค้นหา, ดูแล

2. ความเข้าใจผิดว่าระบบการจัดการความรู้ คือ เทคโนโลยีสารสนเทศ การดำเนินการระบบการจัดการความรู้ คือ การเลือกซื้อระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในองค์กร

3. มองระบบการจัดการความรู้เป็นเพียงการใส่ข้อมูลและจัดหมวดหมู่

4. ความรู้ที่มีการใช้งานผ่านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศจะมีความรู้แบบ Explicit Knowledge (เอกสาร,ตำรา) ส่วน Tacit Knowledge (ความรู้โดยนัย, ความคิดสติปัญญา, กลับไม่ได้รับการบันทึก, ถ่ายทอดไม่ได้แปลงเป็น Explicit Knowledge จะเป็นข้อจำกัดของ IT ที่ไม่สามาถจัดการได้





0 ความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

 

Blogger news

Blogroll

Translate